วันจันทร์ที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2556

Robert II of France

Robert II of France 

 

 

      obert II de France, surnommé « Robert le Pieux » est né à Orléans vers 9721 et est mort au château de Melun le 20 juillet 1031. Fils d’Hugues Capet et de son épouse Adélaïde d'Aquitaine, il est le deuxième roi franc de la dynastie capétienne. Il règne de 996 à 1031 et est ainsi l'un des souverains de l’an mil.

Associé dès 987 à la royauté, il assiste son père sur les questions militaires (avec le siège par deux fois, en 988 et 991 de Laon). Sa solide instruction, assurée par Gerbert d'Aurillac à Reims, lui permet de s’occuper des questions religieuses dont il devient rapidement le garant (il dirige le concile de Verzy en991 et celui de Chelles en 994). Poursuivant l’œuvre politique de son père, après996, il parvient à maintenir l’alliance avec la Normandie et l’Anjou et à contenir les ambitions d'Eudes II de Blois.

Au prix d’une longue lutte débutée en avril 1003, il conquiert le duché de Bourgogne qui aurait dû lui revenir en héritage à la mort, sans descendance directe, de son oncle Henri Ier de Bourgogne, mais que ce dernier avait transmis à son beau-fils Otte-Guillaume.

Les déboires conjugaux de Robert le Pieux avec Rozala d'Italie et Berthe de Bourgogne (qui lui valent une menace d’excommunication), puis la mauvaise réputation de Constance d'Arles, contrastent étrangement avec l’aura pieuse, à la limite de la sainteté, que veut bien lui prêter son biographe Helgaud de Fleurydans la Vie du roi Robert le Pieux (Epitoma vitae regis Roberti pii). Sa vie est alors présentée comme un modèle à suivre, faite d’innombrables donations pieuses à divers établissements religieux, de charité envers les pauvres et surtout de gestes considérés comme sacrés, telle que la guérison de certains lépreux : Robert est le premier souverain considéré comme thaumaturge. La fin de son règne révèle la relative faiblesse du souverain qui doit faire face à la révolte de son épouse Constance d'Arles puis de ses propres fils (Henri et Robert) entre1025 et 1031.

วันอาทิตย์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2556

Le français

Le français


        Le français est une langue indo-européenne de la famille des langues romanes. Le français s'est formé en France (variété de la « langue d’oïl ») et est aujourd'hui parlé sur tous les continents par environ 220 millions de personnes dont 115 millions de locuteurs natifs, auxquels s'ajoutent 72 millions de locuteurs partiels (évaluation Organisation internationale de la francophonie : 2010). Elle est une des six langues officielles et une des deux langues de travail (avec l’anglais) de l’Organisation des Nations unies, et langue officielle ou de travail de plusieurs organisations internationales ou régionales, dont l’Union européenne. Après avoir été à l’époque de l’Ancien Régime français la langue des cours royales et princières, des tsars de Russie aux rois d’Espagne et d'Angleterre en passant par les princes de l’Allemagne, elle demeure une langue importante de la diplomatie internationale aux côtés de l’anglais, de l'allemand et de l’espagnol.

La langue française est un attribut de souveraineté en France, depuis 1992 « la langue de la République est le français » (article 2 de la Constitution de la Cinquième République française). Elle est également le principal véhicule de la pensée et de la culture française dans le monde. La langue française fait l’objet d’un dispositif public d’enrichissement de la langue, avec le décret du 3 juillet 1996 relatif à l'enrichissement de la langue française.
 
La langue française a cette particularité que son développement et sa codification ont été en partie l’œuvre de groupes intellectuels, comme la Pléiade, ou d’institutions, comme l’Académie française. C’est une langue dite « académique ». Toutefois, l’usage garde ses droits et nombreux sont ceux qui malaxèrent cette langue vivante, au premier rang desquels Rabelais et Molière : il est d’ailleurs question de la « langue de Molière ».

วันเสาร์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2556

Croissant

        Croissant



       A croissant  French pronunciation: [kʁwa.sɑ̃]  is a buttery flaky viennoiserie pastry named for its well known crescent shape. Croissants and other viennoiserie are made of a layered yeast-leavened dough. The dough is layered with butter, rolled and folded several times in succession, then rolled into a sheet, in a technique called laminating. The process results in a layered, flaky texture, similar to a puff pastry.

Crescent-shaped food breads have been made since the Middle Ages, and crescent-shaped cakes possibly since antiquity.

Croissants have long been a staple of French bakeries and pâtisseries. In the late 1970s, the development of factory-made, frozen, pre-formed but unbaked dough made them into a fast food which can be freshly baked by unskilled labor. The croissanterie was explicitly a French response to American-style fast food, and today 30–40% of the croissants sold in French bakeries and patisseries are frozen.

This innovation, along with the croissant's distinctive shape, has made it the most well known item of French food in much of the world. Today, the croissant remains popular in a continental breakfast.

วันศุกร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2556

สกุลเงินฝรั่งเศส

สกุลเงินฝรั่งเศส

     สกุลเงิน: ยูโร (euro, €; รหัสธนาคาร EUR) เป็นสกุลเงินที่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป 13 ประเทศตกลงใช้ร่วมกัน 1 ยูโรแบ่งออกเป็น 100 เซนต์ แต่ชื่อเรียกของเซนต์อาจแตกต่างกันในแต่ละประเทศ


เหรียญ: 1 เซนต์, 2 เซนต์, 5 เซนต์, 10 เซนต์, 20 เซนต์, 50 เซนต์, €1, €2



ธนบัตร: €5, €10, €20, €50, €100, €200, €500


วันพฤหัสบดีที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2556

galette des rois

galette des rois 

 



Le jour des rois, on partage la galette !


          L''Epiphanie, qui clôt les festivités de Noël, se fête normalement le 6 janvier. Cependant, cette date n''étant pas fériée, il est d''usage de fêter l''Epiphanie autour d''une galette des rois le dimanche précédent ou suivant le 6 janvier. La tradition veut que l''on partage une pâtisserie, généralement une galette fourrée à la frangipane, dans laquelle est cachée une fève. C''est un enfant, le plus jeune et donc le plus innocent, caché sous la table qui doit procéder au partage, afin d''éliminer toute forme de tricherie. La personne qui tombe sur la fève est sacrée Roi ou Reine et doit porter la couronne. L''usage veut que celui qui trouve la fève offre à boire à l''assemblée (du vin mousseux ou du champagne) ou soit le suivant à offrir la galette, ce qui permet de déguster plusieurs galettes durant le mois de janvier… Si la galette est très répandue en France, la couronne des rois continue d''avoir ses adeptes dans le sud de la France. Il s''agit d''une brioche en forme de couronne, garnie de fruits confits ou fourrée de crème pâtissière.
Il faut savoir que le 6 janvier est également la fête des "Tiphaine" et "Tiffany". Ces prénoms dérivent en effet du mot « Théophanie », employé également pour désigner l’Epiphanie. L’étymologie de ces deux mots renvoie à la manifestation de Dieu, à la présence révélée.


Le voyage des Rois Mages…
 

          Avant de déguster galette ou brioche, découvrons l’histoire qui est à l’origine de cette fête. D''après l''Evangile selon Saint Matthieu, au moment de la naissance de Jésus, arrivèrent à Jérusalem trois mages venus d''Orient. Ils demandèrent à voir le roi des Juifs dont la naissance leur avait été annoncée par un astre. Le roi Hérode apprit la nouvelle de leur venue et s''enquit auprès des prêtres du lieu où devait arriver la naissance du Messie. Ceux-ci ayant déclaré que ce lieu devait être Bethléem, Hérode y envoya les mages en leur demandant de l''avertir dès qu''ils l''auraient trouvé. Les trois mages se mirent donc en route vers Bethléem, et virent à nouveau l''astre d''Orient qui les guida jusqu''à la crèche. Là, ils trouvèrent l''enfant Jésus, se prosternèrent devant lui et lui offrirent en cadeau de l''or, de l''encens et de la myrrhe. Puis, ayant été avertis en songe des intentions criminelles que le roi Hérode, jaloux, nourrissait à l''égard du Messie qu''il considérait comme son rival, ils repartirent sans l''avertir de leur découverte.

L''histoire des mages exerce depuis longtemps une grande fascination sur les théologiens mais aussi les scientifiques qui ont tenté d''en savoir un peu plus sur cet épisode biblique mystérieux. Ainsi, l''astre qui guida les mages fait l''objet de nombreuses hypothèses : il pourrait s''agir de la comète de Halley, ou encore d''une nova. Les mages eux-mêmes sont entourés de mystère : on pense qu''il s''agissait d''astrologues qu''un phénomène céleste exceptionnel aurait attirés vers la Judée. Une tradition datant du VIIème siècle veut qu''ils aient été rois, répondant aux noms de Melchior, Gaspard et Balthazar... On leur attribua même au XVIème siècle une couleur de peau différente pour chacun : blanche pour Melchior, noire pour Balthazar et jaune pour Gaspard.


Les rois mages et la crèche

          On commence généralement à installer la crèche de Noël au moment de l''Avent, c''est-à-dire le 4ème dimanche précédant Noël. Cependant les personnages des rois mages doivent être positionnés loin de l''étable, puis rapprochés de la crèche au fur et à mesure que l''Epiphanie approche. Enfin, le jour des rois est le moment de les placer devant l''enfant Jésus... avant d''attaquer la galette !








 

วันพุธที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ฤดูกาลในฝรั่งเศส

ฤดูกาลในฝรั่งเศส

          
          ฝรั่งเศสเป็นประเทศหนาวในปีหนึ่งแบ่งออกเป็น 4 ฤดู แต่ละฤดูจะกินเวลา 3 เดือน วันเดือนที่กำหนดว่าเป็นวันเริ่มต้นและวันสิ้นสุดของแต่ละฤดู นั้นจริง ๆแล้วไม่ได้หมายความว่าอากาศจะต้องเปลี่ยนแปลงอย่างนั้นจริง ๆวันเริ่มต้นฤดูใบไม้ผลิบางปีในบางท้องถิ่นอากาศจะหนาวมากกว่าฤดูหนาวในบางถิ่น ฤดูทั้ง 4 ของฝรั่งเศสมีดังนี้คือ


          1. ฤดูใบไม้ผลิ ( le  printemps ) ฤดูใบไม้ผลิเริ่มวันที่ 21 มีนาคม สิ้นสุดวันที่
21 มิถุนายน  ในฤดูนี้อากาศจะอบอุ่นขึ้น  ต้นไม้ที่โกร๋นปราศจากใบมาตลอด เวลา 3 เดือนในฤดูหนาวที่หนาวเย็นจะเริ่มผลิใบ การเปลี่ยนแปลงนี้รวดเร็วมาก ในเวลาไม่กี่วันหลังอากาศอบอุ่นต้นไม้จะผลิใบ เขียวชอุ่ม  ปลายเดือนมีนาคมและเดือนเมษายนอากาศจะไม่แน่นอน  ในช่วงนี้จึง ยังคงเก็บเสื้อโค้ตไม่ได้เพราะอากาศจะหนาวเมื่อไรก็ได้   บางทีอาจจะมีฝนตกบ้าง   อากาศจะดีจริง ๆ  ในเดือนพฤษภาคม   ฤดูใบไม้ผลิเป็นฤดูที่สวยงาม   ฟ้าจะเป็นสีฟ้าใส  พระอาทิตย์ซึ่งไม่เคยปรากฏในฤดูหนาวเริ่มส่องแสง  ฤดูนี้ ได้ชื่อว่าเป็นฤดูแห่งดอกไม้แห่งงานฉลองแห่งความรัก  ( la saison  des  fleurs, des  fêtes,  des amours ) มีงานฉลองมากมาย เช่น พิธีรับศีลจุ่ม  พิธีแต่งงาน  ฯลฯ  สำหรับนักเรียนนักศึกษา  เดือนอากาศดีนี้หมายถึงการสอบปลายปี ด้วย แม้ว่าฤดูใบไม้ผลิจะเป็นฤดูที่ทุกคนคิดว่าเป็นฤดูที่สวย งาม อากาศดี แต่ก็เป็นฤดูที่อากาศไม่แน่นอน  อากาศจะเปลี่ยนแปลงอย่างไม่คาด หมาย imprévisible ก็ได้แต่ฤดูใบไม้ผลิก็นับว่าเป็นฤดูที่ดีที่สุดฤดูหนึ่งของปี


           2.ฤดูร้อน  ( l’été ) เริ่มวันที่  22  มิถุนายน  สิ้นสุดวันที่  22 กันยายน ฤดูร้อนเป็นฤดูที่กลางวันยาวมาก   เมื่อกลางวันยาว   กลางคืนก็สั้นประมาณ  6 – 7 ชั่วโมง  กลางวันยาวในที่นี้หมายความว่าพระอาทิตย์ตกดินช้า  สามทุ่ม หรือสี่ทุ่มยังไม่มืด  เมื่อไม่มืดก็มีความรู้สึกว่ายังไม่ถึงกลางคืน   ในประเทศสแกนดิเนเวียนนั้นในฤดูร้อน  กว่าพระอาทิตย์ตกดินหรือจะมืดก็ประมาณ ห้าทุ่มหรือเที่ยงคืน   กลางคืนจะยาวประมาณ  6 – 7 ชั่วโมง ฤดูร้อนในฝรั่งเศสอากาศร้อนผู้คนจึงไปชายทะเล  ฤดูร้อนเป็นฤดู แห่งวันหยุดผู้คนเฝ้ารอฤดูนี้เพื่อจะได้ไปเที่ยวทะเล  เพื่อจะได้อาบ แดด  เพื่อจะได้รับประทานผลไม้สด ๆ เช่น  สตรอเบอรี่   แต่ในฤดูร้อนผลไม้ยังไม่อร่อย   ต้องรอให้ผลไม้สุกเสียก่อน   ฤดูร้อนบางปีอากาศอาจจะไม่ดีฝนตกบ่อย ๆ  ฤดูร้อนที่อากาศไม่ดีเรียกว่า   été pourri   ความหมายก็บอกว่าไม่เพลิดเพลิน เป็น  “ฤดูร้อนที่เน่าเสีย” คาดว่า   “été  canicule”  หมายถึงช่วงต้นฤดูร้อนที่อากาศร้อนมาก   บางเมืองอากาศจะร้อนมาก  อุณหภูมิที่สูงสุดในฤดูร้อนในฝรั่งเศสประมาณ  30 องศาเซลเซียส  ซึ่งร้อนมากสำหรับประเทศหนาว  ทำให้คนอยากไป   vacances  โดยเฉพาะคนที่อยู่ในเมืองใหญ่อย่างปารีส



          3.  ฤดูใบไม้ร่วง ( l’automne ) ฤดูใบไม้ร่วงเริ่มต้นวันที่  23  กันยายน สิ้นสุดวันที่  21   ธันวาคม   อากาศที่สดใส   แดดจ้าในฤดูร้อนเริ่มเปลี่ยน   ท้องฟ้าสีเทา  ลมแรง ใบไม้เริ่มเปลี่ยนจากสีเขียวมาเป็นสีเหลือง   กลางวันสั้นมากขึ้นกลางคืนยาวขึ้นใบไม้สีเหลือง แห้งและร่วง  ฤดูใบไม้ร่วงก็เหมือนฤดูอื่น ๆ  คือ อาจจะเป็นฤดูใบไม้ร่วงที่อากาศดีหรือฤดูใบไม้ร่วงที่อากาศไม่ดี คือ ฝนอาจจะตกบ่อยตอนต้นฤดูอากาศมักจะดีตอนปลายฤดูคือ เดือนพฤศจิกายนอากาศจะไม่ดีท้องฟ้าเป็นสีเทาและมืดครึ้มตอนที่ใบไม้ร่วง ต้นไม้โกร๋นเป็นตอนที่เศร้าแต่ฤดูใบไม้ร่วงเป็นฤดูที่สวยฤดูหนึ่ง   เพราะใบไม้ที่เปลี่ยนสีทำให้ฟ้าสวยงามหาที่เปรียบไม่ได้ ป่าไม้ในฤดูใบไม้ร่วง ( ตอนต้นและตอนกลางฤดู )จะใช้คำขยายว่า  coloré ซึ่งหมายถึงระบายด้วยสีประดับด้วยสี ( อันสวยงาม ) “ศิลปินมักจะให้ฤดูใบไม้ร่วงเป็นฤดูที่สวยที่สุด เนื่องจากสีใบไม้ที่เปลี่ยนสีแตกต่างกันมากมายหลายสีซึ่งธรรมชาติเท่านั้นจะทำได้  ทางใต้ของฝรั่งเศสอากาศจะไม่หนาวแต่มีลมแรง ( mistral )  ทางใต้จึงปลูกต้นไม้ที่สู้ลมได้   เช่น  ต้นมะกอก  ( olivier ) ต้นโอ๊ค ( chêne  vert )  และต้นไม้ที่มีรากยาว ๆ  เช่น องุ่น  ฤดูใบไม้ร่วงเป็นฤดูที่ดีที่สุดของคนบางกลุ่ม  คนฝรั่งเศสจำนวนหนึ่งที่ชอบล่าสัตว์จะถือปืนออกล่าสัตว์  ฤดูนี้เป็นช่วงที่คนในประเทศหนาวสามารถอยู่กลางแจ้งได้ก่อนที่ความหนาวจะ คลืบคลานเข้ามาถึง



          4. ฤดูหนาว ( l’hiver ) เริ่มวันที่  22  ธันวาคม สิ้นสุดวันที่  20  มีนาคมปลายฤดูใบไม้ร่วง   กลางวันสั้นมากขึ้น   ท้องฟ้ามืดครึ้ม   ฤดูหนาวในประเทศหนาวหรือประเทศฝรั่งเศสคือ  ความหนาว   ฝนและหิมะ   แต่ฤดูหนาวก็เหมือนฤดูอื่น ๆ  คือ เป็นฤดูที่คนบางกลุ่มเฝ้ารอ   นั่นคือผู้ที่ชอบกีฬาฤดูหนาวและผู้ทำธุรกิจเกี่ยวกับกีฬาฤดูหนาวเมืองที่อยู่บริเวณภูเขาและเป็นสถานีสกี ( Stations  de  ski ) จะคึกคักและมีชีวิตชีวาฤดูหนาวเป็นฤดูแห่ง   “sports  d’hiver” ครอบครัวหรือโรงเรียนจะพาลูก ๆ  และเด็ก ๆ  ไปเล่นสกีบนภูเขาในช่วง   vacances  de  neige   ผู้เดินทางในการขับรถที่อยู่ในเขตภูเขาที่มีหิมะตกจะต้องมี   pneus  à  clous  หรือ roués  avec  chaine ซึ่งเป็นยางรถที่ใช้บนถนนที่ลื่นด้วย  vergla  ( ฝนปนหิมะ ) gel  ( น้ำที่แข็งตัว ) และ dégel  ( น้ำแข็งที่ละลายแล้ว )   นอกจากเจ้าของรถจะต้องเตรียมรถของตนให้พร้อมที่จะแล่นไปบนถนนที่อันตราย แล้วทางราชการก็เตรียม  chasse – neiges ( รถกวาดหิมะ ) เพื่อเปิดทางหากหิมะตกมาก ๆ  บนทางหลวงก็จะมีกระสอบทรายและกระสอบเกลือวางไว้ประจำฤดูหนาวเป็นฤดูแห่งงานฉลองจะเห็นว่ามีเทศกาลหลายเทศกาลในฤดูนี้ เช่น   Fête  de  Saint – Nicolas, Noël,  Nouvel  An,  Fête  des  Rois, Carnavalนอกจากจะได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่มีอากาศปานกลาง  ( le  climat  doux   et   tempéré ) ของยุโรปแล้วอากาศในฝรั่งเศสยังแตกต่างกันตามลักษณะภูมิประเทศ   และลักษณะที่เด่นคือ ความไม่แน่นอน อากาศแต่ละฤดูไม่เหมือนกัน และฤดูเดียวกันในแต่ละปีก็ไม่เหมือนกัน

 

วันอังคารที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2556

วันชาติฝรั่งเศส

 วันชาติฝรั่งเศส


          วันบาสตีย์ เป็นวันชาติของฝรั่งเศส ซึ่งตรงกับวันที่ 14 กรกฎาคมของทุกปี ในประเทศฝรั่งเศส วันดังกล่าวถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า "งานเฉลิมฉลองแห่งชาติ" (La Fête Nationale) และเรียกโดยทั่วไปว่า "สิบสี่กรกฎา" (le quatorze juillet) วันดังกล่าวเป็นการรำลึกถึงวันหยุดสมาพันรัฐ (Fête de la Fédération) ในปี ค.ศ. 1790 ซึ่งตรงกับวันครบรอบการโจมตีคุกบาสตีย์เมื่อ วันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1789 หนึ่งปีพอดี วันครบรอบการบุกโจมตีคุกปราการบาสตีย์ถูกมองว่าเป็นสัญลักษณ์การลุกฮือของ ชาติสมัยใหม่ และการปรองดองชาวฝรั่งเศสด้วยราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ สมัยก่อนสาธารณรัฐที่ 1 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส งานฉลองและพิธีการทางการถูกจัดขึ้นทั่วประเทศฝรั่งเศส การเดินสวนสนามประจำปีที่เก่าแก่ที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดในยุโรปถูกจัด ขึ้นเมื่อเช้าวันที่ 14 กรกฎาคม บนถนนช็องเซลีเซในปารีส ต่อหน้าประธานาธิบดีฝรั่งเศส ข้ารัฐการและแขกต่างประเทศ

เหตุการณ์และประเพณี

 


          การเดินสวนสนามเริ่มจากนักเรียนทหารจากโรงเรียนทหารหลายแห่ง จากนั้นจึงเป็นทหารราบ ทหารยานยนต์ อากาศยานจากปาทรุยเดอฟร็องส์บินอยู่บนท้องฟ้า ในปัจจุบัน ได้กลายมาเป็นธรรมเนียมปฏิบัติที่จะเชิญหน่วยทหารจากประเทศพันธมิตรของ ฝรั่งเศสร่วมเดินสวนสนามด้วย ในปี ค.ศ. 2004 อันเป็นปีครบรอบหนึ่งร้อยปีความตกลงฉันทไมตรี (Entente Cordiale) ทหารอังกฤษได้นำการเดินสวนสนามวันบาสตีย์เป็นครั้งแรก โดยมีเรดแอโรวส์บินอยู่เหนือศีรษะ ในปี ค.ศ. 2007 กองพลน้อยพลร่มที่ 26 ของเยอรมนีนำหน้าการเดินสวนสนาม ตามด้วยนาวิกโยธินอังกฤษในวันนี้ยังเป็นวันที่ประธานาธิบดีฝรั่งเศสจะให้สัมภาษณ์แก่สื่อ โดยอภิปรายสถานการณ์ของประเทศ เหตุการณ์ปัจจุบันและโครงการในอนาคต แต่นีกอลา ซาร์กอซี ประธานาธิบดีฝรั่งเศสคนที่ 23 ปฏิเสธจะให้สัมภาษณ์ 

     รัฐธรรมนูญแห่งฝรั่งเศส มาตรา 17 ให้อำนาจแก่ประธานาธิบดี ในการอภัยโทษแก่ผู้กระทำความผิด และตั้งแต่ ค.ศ. 1991 เป็นต้นมา ประธานาธิบดีฝรั่งเศสได้ใช้อำนาจนี้ ในการอภัยโทษผู้กระทำความผิดเล็กๆ น้อยๆ เช่นผู้กระทำผิดกฎจราจร ในวันที่ 14 กรกฎาคมของทุกปี แต่หลังจากปี ค.ศ. 2007 เป็นต้นมา อดีตประธานาธิบดีซาร์กอซี ประกาศให้ยกเลิกธรรมเนียมปฏิบัติดังกล่าว

การเดินสวนสนาม

 

         การเดินสวนสนามวันบาสตีย์นั้นเป็นการเดินสวนสนามฝรั่งเศสที่จัดขึ้นเป็น ประจำทุกปีในกรุงปารีสนับตั้งแต่ ค.ศ. 1880 ในตอนเช้าวันที่ 14 กรกฎาคม แต่ก่อนการเดินสวนสนามดังกล่าวจัดขึ้นที่อื่นในหรือใกล้กับกรุงปารีส แต่หลังจากปี ค.ศ. 1918 ได้ย้ายมาจัดที่ถนนช็องเซลีเซ ด้วยการเห็นพ้องอย่างชัดเจนของฝ่ายสัมพันธมิตรที่เป็นตัวแทนในการประชุมสัน ติภาพแวร์ซาย ยกเว้นช่วงที่เยอรมนียึดครองฝรั่งเศสจาก ค.ศ. 1940 ถึง 1944 ขบวนสวนสนามเคลื่อนลงมาตามถนนช็องเซลีเซ จากประตูชัยฝรั่งเศสไปถึงจัตุรัสกงกอร์ด ที่ซึ่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส คณะรัฐบาลและเอกอัครราชทูตต่างประเทศประจำประเทศฝรั่งเศสยืนอยู่ การเดินสวนสนามวันบาสตีย์ได้รับความนิยมในฝรั่งเศส มีการถ่ายทอดทางโทรทัศน์ และเป็นการเดินสวนสนามเป็นปกติที่เก่าแก่ที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดในยุโรป ในบางปียังได้มีการเชิญทหารต่างประเทศเข้าร่วมในขบวนสวนสนามและเชิญรัฐบุรุษต่างประเทศเข้าร่วมในฐานะแขก นอกจากนี้ ยังมีการเดินขบวนสวนสนามขนาดเล็กกว่าตามเมืองที่มีกองทหารประจำอยู่ของฝรั่งเศส อันประกอบด้วยทหารในท้องถิ่นนั้น

วันจันทร์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2556

Noël


     
     Noël est fêté dans la nuit du 24 au 25 décembre et le 25 toute la journée. En tant que fête chrétienne, elle commémore chaque année la naissance de Jésus de Nazareth et est célébrée le 25 décembre dans les calendriers grégorien et julien. À l'origine, il existait à cette date des festivités païennes marquant le solstice d'hiver, symbole de la renaissance du soleil. L'Église apostolique arménienne a gardé la tradition plus antique de célébrer au 6 janvier les deux fêtes de la Nativité et de l'Épiphanie.



     Au XXIe siècle, la période entourant Noël (dite « période des fêtes » en contexte séculier) revêt un aspect largement non religieux et commercial et dans certains pays, le jour de Noël est férié. Dans cet esprit, Noël devient une fête à connotation folklorique, caractérisée par un regroupement des cellules familiales autour d'un repas et d'un échange de cadeaux autour du sapin traditionnel.




วันเสาร์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2556

Le championnat de France de football masculin




  

     Le championnat de France de football masculin, dénommé « Ligue 1 » (L1), est une compétition de football qui représente en France le sommet de la hiérarchie du football. La compétition se déroule annuellement sous forme d'un championnat mettant aux prises vingt clubs professionnels. Une saison du championnat commence en été et se termine au printemps suivant. La première journée de l'édition inaugurale se tient le 11 septembre 1932. Nommé « Division Nationale » lors de la saison 1932-1933, le championnat prend le nom de « Division 1 » (D1) en 1933, avant de prendre son nom actuel à l'été 2002.

     L'AS Saint-Étienne est le club le plus couronné avec dix titres de champion de France alors que l'Olympique lyonnais est le club qui a remporté le plus de titres consécutifs (7 entre 2002 et 2008). Le Paris Saint-Germain est le tenant du titre de la saison 2012-2013.

     Avec 66 saisons de présence en Ligue 1, le Football Club Sochaux-Montbéliard détient le record du nombre de saisons parmi l'élite, alors que le Football Club de Nantes détient quant à lui le record de longévité en Ligue 1 avec 44 saisons consécutives (de 1963 à 2007). Le Paris Saint-Germain est actuellement le doyen de la Ligue 1 puisqu'il y est présent depuis 1974 (soit sa 40e année consécutive en 2013-2014).

 

วันศุกร์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2556

La Joconde

La Joconde

 

 

          La Joconde, ou Portrait de Mona Lisa, est un tableau de Léonard de Vinci, réalisé entre 1503 et 1506, qui représente un portrait mi-corps, probablement celui de la florentine Lisa Gherardini, épouse de Francesco del Giocondo. Acquise par François Ier, cette peinture à l'huile sur panneau de bois de peuplier de 77 × 53 cm est exposée au musée du Louvre à Paris. La Joconde est l'un des rares tableaux attribués de façon certaine à Léonard de Vinci.
La Joconde est devenue un tableau éminemment célèbre car, depuis sa réalisation, nombre d'artistes l'ont prise comme référence. Ce chef-d'œuvre constitue en effet l'aboutissement des recherches du XVe siècle sur la représentation du portrait. À l'époque romantique, les artistes ont été fascinés par l'énigme de La Joconde et ont contribué à développer le mythe qui l'entoure, en faisant de ce tableau l’une des œuvres d'art les plus célèbres du monde, si ce n'est la plus célèbre : elle est en tout cas considérée comme l'une des représentations d'un visage féminin les plus célèbres au monde. Au XXIe siècle, elle est devenue l'objet d'art le plus visité au monde, juste devant le diamant Hope, avec 20 000 visiteurs qui viennent l'admirer quotidiennement.

 

วันพฤหัสบดีที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2556

Prise de la Bastille

 

          La prise de la Bastille, survenue le mardi 14 juillet 1789 à Paris, est l'un des événements inauguraux et emblématiques de la Révolution française.

Cette journée, durant laquelle la Bastille est prise d’assaut par des émeutiers, est, dans la tradition historiographique, considérée comme la première intervention d'ampleur du peuple parisien dans le cours de la Révolution et dans la vie politique française.

Le siège et la reddition de la forteresse royale s'inscrivent dans une période de vide gouvernemental, de crise économique et de tensions politiques à la faveur de la réunion des États Généraux et de leur proclamation par le Tiers en Assemblée constituante. L'agitation du peuple parisien est à son comble suite au renvoi de Necker (11 juillet) et du fait de la présence de troupes mercenaires aux abords de la ville.

Si son importance est relative sur le plan militaire, l'événement est sans précédent par ses répercussions, par ses implications politiques et son retentissement symbolique.

La forteresse était défendue par une centaine d’hommes qui firent près de cent morts parmi les assiégeants. Il y en eut six parmi les assiégés, dont le gouverneur de Launay. Cependant, la reddition de la Bastille fit l’effet d’un séisme, en France comme en Europe, jusqu'en Russie impériale.

D'emblée, l'événement est considéré comme un tournant radical dans le cours des événements par les Parisiens et le pouvoir royal. Il marque l'effondrement de l'administration royale et provoque une révolution municipale. La capitale puis le pays se mobilise derrière les Constituants. De plus, il est immédiatement mis en scène et célébré par ses partisans. Il revêt par la suite une charge symbolique extrêmement forte dans la culture politique républicaine.

La Fête de la Fédération fut organisée à la même date l’année suivante, pour coïncider avec le premier anniversaire de l’évènement. La date du 14 juillet fut choisie en 1880 pour célébrer la fête nationale française en souvenir de cette double commémoration.

 

วันพุธที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556

การเมืองของฝรั่งเศส

          สาธารณรัฐฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบ ประชาธิปไตย แบบสาธารณรัฐเดี่ยวกึ่งประธานาธิบดี รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสได้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2501 โดยผ่านการลงประชามติ สาระสำคัญในรัฐธรรมนูญนั้นคือการเพิ่มอำนาจประธานาธิบดี อำนาจฝ่ายบริหารนั้นถูกแบ่งออกและมีหัวหน้า 2 คน ซึ่งก็คือประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ ผ่านการเลือกตั้งโดยตรงแบบสากล มีวาระ 5 ปี (เดิม 7 ปี) มีตำแหน่งประมุขแห่งรัฐอีกด้วย และนายกรัฐมนตรี หัวหน้าคณะรัฐบาล ซึ่งถูกแต่งตั้งโดยประธานาธิบดี

          รัฐสภาฝรั่งเศสนั้นแบ่งออกเป็น 2 สภาได้แก่ สภาผู้แทนราษฎร (Assemblée Nationale) และ วุฒิสภา (Sénat) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นตัวแทนในเขตเลือกตั้ง มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีวาระ 5 ปี สภาผู้แทนราษฎรมีอำนาจในการอภิปรายไม่ไว้วางใจคณะรัฐมนตรีและเสียงข้างมากใน สภาสามารถกำหนดการตัดสินใจของรัฐบาลอีกด้วย สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกของคณะผู้เลือกตั้ง มีวาระ 6 ปี (เดิม 9 ปี)

 ปาเลส์ บูร์บง (Palais Bourbon) สถานที่ทำการของสภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศส




ปาเลส์ ดู ลูซองบูร์ก (Palais du Luxembourg) สถานที่ทำการของวุฒิสภาฝรั่งเศส



พระราชวังแวร์ซายส์ สถานที่ทำการที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาฝรั่งเศส

          รัฐสภาฝรั่งเศส (Parlement français) เป็นสถาบันฝ่ายนิติบัญญัติในระบบการปกครองของประเทศฝรั่งเศส โดยยึดระบบสองสภา (Bicamérisme) ซึ่งประกอบไปด้วย

สภาสูง (Chambre haute) หรือเรียกว่า วุฒิสภา (Sénat) ซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้แทนท้องถิ่นมาจากการเลือกตั้งโดยอ้อม

สภาล่าง (Chambre basse) หรือเรียกว่า สภาผู้แทนราษฎร (Assemblée nationale française) ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน

โดยผู้มีสิทธิเลือกตั้งคือชาวฝรั่งเศสทั้งหญิงและชาย มีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี และไม่เป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้งตามที่กฎหมายกำหนด

คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง (Conditions de candidature et d'éligibilité) มีดังนี้

1. คุณสมบัติ (Eligibilité)
บุคคล สัญชาติฝรั่งเศสทั้งเพศหญิงและชายมีสิทธิลงสมัครรับเลือกตั้ง นอกจากคุณสมบัติดังกล่าวแล้ว ยังต้องไม่เป็นบุคคลไร้ความสามารถหรือมีลักษณะต้องห้ามตามที่กฎหมายกำหนด

2. ลักษณะต้องห้าม (Inéligibilité)

2.1 ลักษณะต้องห้ามอันเกี่ยวข้องกับลักษณะบุคคล
• อยู่ภายใต้ความคุ้มครอง การควบคุมในทางปกครอง
• ต้องโทษมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้ง
• ถูกประกาศให้เป็นบุคคลล้มละลาย ถูกห้ามมิให้บริหารงานรัฐวิสาหกิจ หรือต้องสะสางบัญชีทรัพย์สินตามคำสั่งศาล
• ไม่ได้เข้ารับการเกณฑ์ทหารตามกฎหมาย

2.2 ลักษณะต้องห้ามอันเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่
ผู้ ดำรงตำแหน่งซึ่งมีผลประโยชน์ ที่อาจก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมแก่ผู้สมัคร ไม่มีสิทธิลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกรัฐสภา กฎหมายได้ระบุถึงตำแหน่งหน้าที่ ขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบ และระยะเวลาการดำรงตำแหน่งอันมีลักษณะต้องห้ามไว้ ดังนี้

• เป็นผู้ตรวจการแผ่นดินของสาธารณรัฐในทุกเขตเลือกตั้ง
• เป็นผู้ว่าการจังหวัดซึ่งดำรงตำแหน่งในเขตเลือกตั้งนั้น หรือได้ปฏิบัติหน้าที่นั้นเป็นระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี
• ผู้ดำรงตำแหน่งดังต่อไปนี้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในเขตเลือกตั้งนั้นหรือเคยปฏิบัติหน้าที่นั้นเป็นระยะเวลาไม่เกิน 6 เดือน
• เป็นผู้พิพากษา
• เป็นเจ้าหน้าที่ทหารที่ทำหน้าที่บังคับบัญชาในเขตนั้น
• เป็นข้าราชการ ผู้รับผิดชอบด้านงานบริหาร หรือการกำกับดูแลในองค์กรระหว่างประเทศ องค์กรระดับภาค องค์กรระดับจังหวัดแห่งสาธารณรัฐ

วันอังคารที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2556

การทักทายฝรั่งเศสง่ายๆ

การทักทายฝรั่งเศสง่ายๆ

     การทักทายกันทั่วไป
Bonjour ( บง ชูร์ )   แปลว่า สวัสดี เหมือนกับคำว่า Hello ในภาษาอังกฤษค่ะ
bonne nuit  ( บอนนุย )  แปลว่า ราตรีสวัสดิ์
bon soir    ( บงซัวร์ )  แปลว่า สวัสดีตอนเย็น
bon apres-midi   ( บอน นัพเคร-มิดิ ) แปลว่า สวัสดีตอนกลางวัน
enchante   ( อองชองเต ) แปลว่า ยินดีที่ได้รู้จัก
comment allez-vous? ( กอมมอง ตาเล วู? ) แปลว่า เป็นอย่างไรบ้าง?
tu vas bien? ( ตุ๊ วา เบียง? )  แปลว่า คุณสบายดีไหม?
bien, merci ( เบียง แมร์ซี่ )  แปลว่า สบายดี, ขอบคุณ


    การทักทายกันในโอกาสพิเศษต่างๆ  
     ภาษาฝรั่งเศสน่ารู้ขอเสนอคำอวยพร หรือ คำที่แสดงความปรารถนาดี ( Les souhaits ) ที่ใช้ในชีวิตประจำวันต่างๆดังนี้

Bonne Année ( บอนนานเน่ ) แปลว่า วัดีปีใหม่ 
Joyeux Noël ( ชัวเยอ โนแอล ) แปลว่า สุขสันต์วันคริสต์มาส 
Joyeux Anniversaire ( ชัวเยอซานิแวร์แซร์ ) แปลว่า สุขสันต์วันเกิด
Bienvenue ( เบียงเวอนู ) แปลว่า ยินดีต้อนรับ

Bon courage ( บง กูราช ) แปลว่่า ขอให้มีกำลังใจในการทำงาน 
Bonne chance ( บอน ชองส์ ) แปลว่า ขอให้โชคดี / ประสบความสำเร็จ 
Bon appétit ( บอนนาเปตี ) แปลว่า ขอให้เจริญอาหาร
Bon voyage ( บง วัวยาช ) แปลว่า ขอให้เดินทางโดยสวัสดิภาพ 
Bonne journée ( บอน ชูร์เน่ ) แปลว่า ขอให้สนุกสนานในช่วงกลางวันนี้ 
Bonne soirée ( บอน ซัวเร่ ) แปลว่า ขอให้สนุกสนานในช่วงค่ำคืนนี้ 
Bonnes vacances ( บอน วาก็องส์ ) แปลว่า ขอให้สนุกสนานช่วงปิดภาคเรียน
Bonne nuit ( บอน นุย ) แปลว่า ราตรีสวัสดิ์
Fais de beaux rêves ( แฟ เดอ โบ แรฟ ) แปลว่าหลับฝันดี 
Bonne santé ( บอน ซองเต้ ) แปลว่า ขอให้มีสุขภาพดี 

คำขอโทษภาษาฝรั่งเศส
je suis desole (เฌอ ซุย เดโซเล) แปลว่า ขอโทษ
Pardon (ปาร์ดง) แปลว่า ขอโทษ
je m'excuse (เฌอ เม็กกูซ) แปลว่า ขอโทษ
je m'excuse de vous deranger (เฌอ เม็กกูซ เดอ วูส์ เดรองเช่) แปลว่า แปลว่าขอโทษ


     ก่อนที่จะถามเรื่องบางอย่าง ควรใช้สำนวน Excusez - Moi (เอ็กกูเซ - มัว) ตรงกับคำภาษาอังกฤษ excuse - me ค่ะ

การรับการขอโทษ ก็มีหลายสำนวนเช่น 

Ce n'est rien (เซอ เน เรียง) แปลว่า ขอโทษ 
Il n'y a pas de quoi (อิล นี ยา ปา เดอ กัว) แปลว่า ขอโทษ
je vous en prie (เฌอ วูส์ ซง พรี) แปลว่า ขอโทษ


ภาษารัก ภาษาฝรั่งเศส
Je vous aime beaucou. (เฌอ วู แซม โบกู) แปลว่า ฉันรักคุณมาก
แบบภาษาชาวบ้าน คือ
Je t'aime (เฌอแตม)
แปลว่า ฉันรักเธอ
Je pense beaucoup a toi (เฌอ ปองส์ โบกู อา ตัว)
แปลว่า ฉันคิดถึงเธอมากนะ สามารถใช้ได้กับทุกคน และอีกสำนวนที่สุดโรแมนติก คือ
Je t'aime a l'infini (เฌอ แตม อา แลงฟีนี) แปลว่าฉันรักเธอตลอดกาลหรือรักเธอชั่วนิรันดริ์


การทักทายกันแบบฝรั่งเศสและสถานะการณ์ต่างๆเมื่อเทียบกับภาษาอังกฤษ

Hello in French is. . . bonjour ! 
Hello ! . . . bonjour ! 
Good day! Good morning! Good afternoon!. . .
Bonjour!
Hi!. . . salut
!
Pleased to meet you!. . .
Content(males) or Contente(females) de te rencontrer!
Thank you! . . .
Merci
Many thanks! Thank you very much!. . .
Merci beaucoup!
Good evening!. . .
Bonsoir! Bonne soirée!
Good night!. . .
Bonne nuit!
Come here! . . .
Viens ici!
OK! . . .
OK!
How good! Great!. . .
C'est bien! Super!

How do you say, 'How are you in French?' แบบเป็นไม่เป็นทางการ
How are you ? . . . Comment vas-tu? 
แบบเป็นทางการ
How are you ? . . . Comment allez-vous?  
How are you? .  . . ça va?  
This is literally translated as 'does it go?'. This is a very common French greeting, or response after saying something like 'bonjour'.
I'm doing well ! . . . ça va! ça va bien!Good luck!. . . Bonne chance!
Until next time! . . . à la prochaine!
See you soon!. . . A bientot ! J'espére te revoir bientot!


   

วันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2556

แคว้นฝรั่งเศสทั้ง 22 แคว้น






    แต่เดิมประเทศฝรั่งเศสมีชนดั้งเดิมมายึดครองอยู่คือชาว "Gaulois"พวกเขาได้เรียกประเทศฝรั่งเศสว่า LE GAULE

1. ILe-de-France  ที่ตั้งอยู่ที่ Bassin Parisien อาหารประจำแคว้นได้แก่ เนย,สถานที่สำคัญของแคว้นได้แก่ Versailles ราชวังของพระเจ้า LouisXIV ปารีสเป็นเมืองหลวงของฝรั่งเศส  

2. Centre  อยู่ทางทิศตะวันออกของแคว้น Pays de Loire เป็นเมืองหลวงประจำแคว้นผลผลิตที่สำคัญ ได้แก่ พืช,ผักสวนครัว,องุ่น,ข้าวโพด  


3. Pays de Loire  แคว้นนี้มีชายแดนทางตะวันตกติดกับแคว้น Bretagne ทิศตะวันออกติดกับแคว้น Centre ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับที่ราบสูง มีเมืองหลวงชื่อว่า Nantes ผลผลิตที่สำคัญได้แก่ ข้าวสาลี,ข้าวโพด,ไร่องุ่น ผลิตภัณฑ์ที่สำคัญคือเหล้าองุ่นขาว แคว้นนี้มีปราสาทสวยงามมากมายที่สุดในฝรั่งเศส 

4. Bretagne  เป็นแคว้นที่มีลักษณะเป็นแหลมยื่นไปในมหาสมุทรแอตแลนติค เป็นแคว้นเดียวในฝรั่งเศสที่ไม่มีการผลิตเหล้าองุ่น เนื่องจากสภาพอากาศไม่เหมาะสมที่จะปลูกองุ่น แต่มีการประมงเป็นหลักเพราะติดทะเล เมืองหลวงของแคว้นมีชื่อว่า Rennes ผลผลิตที่สำคัญได้แก่ พืชไร่ที่เราเรียกว่า le cidre ขนมที่ขึ้นชื่อคือ Crepes เมืองท่าที่สำคัญมีชื่อว่า Brest ส่วน Saint-Malo เป็นเมืองเก่าแก่ของแคว้น 

5. La Basse-Normandie  เป็นแคว้นที่มีชายฝั่งทะเลตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติค ชายฝั่งทางเหนือติดกับอ่าว Manche ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดกับแคว้น Bretagne และทางทิศตะวันออกติดกับแคว้น Haute-Normandie เมืองหลวงประจำแคว้นชื่อ Caen ผลผลิตที่สำคัญคือ ข้าวสาลี,นม,การประมง สถานที่ท่องเที่ยวมีชื่อ Le Mont-Saint-Michel เป็นโบสถ์โบราณเก่าแก่สถาปัตแบบโรมัน สร้างอยู่บนโขดหินใกล้ทะเล 

6. La Haute-Normandie  มีเขตติดต่อกับแคว้น Basse-Normandie มีการผลิตเนยชั้นนำคุณภาพ และนำแอปเปิ้ลที่มีคุณภาพรสชาติอร่อย เมืองหลวงประจำแคว้นชื่อ Rouen 

7. Picardie   เป็นแคว้นที่ค่อนไปทางเหนือของฝรั่งเศส มีเมือง Amiens เป็นเมืองหลวง ผลผลิตสำคัญคือ ข้าวสาลี,การเลี้ยงสัตว์,การปลูกหัวผักกาดหวาน 

8. Nord-Pas de Calais  แคว้นนี้ตั้งอยู่เหนือสุดของประเทศฝรั่งเศส มีเมือง Lille เป็นเมืองหลวงประจำแคว้น เมืองนี้เป็นเมืองแรกที่มีรถไฟใต้ดินวิ่งป็นเมืองแรกในฝรั่งเศส แคว้นนี้ผลิตเบียร์อย่างมีคุณภาพ เนื่องจากภูมิประเทศเหมาะกับการปลูกข้าวสาลีและข้าวบาร์เล่ย์ 

9. Le Champagne  แคว้นนี้ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของแคว้น Picardie เมืองหลวงประจำแคว้นชื่อ Chalons-sur-Marne ผลผลิตสำคัญได้แก่ องุ่น,ข้าวสาลี,การเลี้ยงสัตว์ สถานที่สำคัญประจำแคว้นนี้คือ" โบสถ์เมือง Reims "ที่สร้างขึ้นด้วยสถาปัตยกรรมGothique 

10. Lorraine  ที่ตั้งของแคว้นนี้อยู่ทางชายแดนประเทศเบลเยี่ยม,ประเทศลักเซมเบอร์กและ ประเทศเยอรมัน เมืองหลวงของแคว้นชื่อ Nancy ผลผลิตที่สำคัญได้แก่ องุ่น,ข้าวสาลีและการเลี้ยงสัตว์

11. Alsace  เป็นแคว้นที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของแคว้น Lorraine มีเมืองหลวงชื่อ Strasbourg ผลผลิตที่สำคัญได้แก่ ข้างสาลี,องุ่น,ข้าวโพด,ยาสูบ เครื่องดื่มที่มีชื่อเสียงประจำแคว้นได้แก่ เหล้าองุ่นขาวคุฌภาพเยี่ยม 

12. Franche-Comte   แคว้นนี้ตั้งอยู่ระหว่างแคว้น Bourgogne และประเทศสวิสเซอร์แลนด์ เมืองหลวงชื่อว่า Besacon ผลผลิตสำคัญได้แก่ ข้าวสาลี,ขนมปัง,เครื่องเทศ นาฬิกาชั้นนำมักจะผลิตที่นี้เป็นสินค้าส่งออก อาหารดังประจำแคว้นเนื่องจากว่าแคว้นนี้ผลิตเบียร์ได้มากจึงมีเบียร์ คุณภาพ,เนยคุณภาพดี 

13. La Bourgogne  ตั้งอยู่ทางใต้ของแคว้น Champagne, อยู่ทางตะวันออกของ Pays de Loire ทางทิศตะวันตกของ Franche-Comte และทิศเหนือของแคว้น Rhone-Alpes เมืองหลวงชื่อ Dijon ผลผลิตสำคัญได้แก่ ข้าวสาลี,นม,เหล้าองุ่น อาหารดังประจำแคว้นมีชื่อว่า ไก่อบเหล้า,หอยทากอบ เหล้าองุ่นและเหล้าชนิดอื่นก็มีชื่อเสียงเช่นเดียวกันสถานที่ท่องเที่ยวที่ สำคัญคือ พระราชวังของดยุ๊ก 

14. Rhone-Alpes  ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของแคว้น Bourgogne และ Franche-comte เมืองหลวงมีชื่อว่า Lyon ผลผลิตที่สำคัญได้แก่ องุ่น,การเลี้ยงสัตว์,ข้าวสาลี,ข้าวโพด 

15. L'Auvergne  เป็นแคว้นที่มีภูเขาไฟ ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของแคว้น Limousin ทางทิศใต้ของแคว้น Bourgogne เมืองหลวงของแคว้นชื่อ Clermont-Ferrand ผลผลิตสำคัญได้แก่ ข้าวสาลี,ข้าวโพด,ข้าวบาร์เลย์ และมีสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญได้แก่ โบสถ์ Notre-Dame 

16. Limousin  เป็นแคว้นที่มีการเลี้ยงแกะ ทางทิศตะวันตกของแคว้นเป็นที่ราบสูงกว้างใหญ่ ซึ่งล้อมรอบด้วยภูเขา เมืองหลวงชื่อ Limoges ผลผลิตสำคัญประจำแคว้นได้แก่ การเลี้ยงสัตว์ประเภทวัว แพะ แกะ สินค้าประจำแคว้นได้แก่ เครื่องปั้นดินเผา,เครื่องเคลือบลายคราม 

17. Poitou-Charentes  แคว้นนี้อยู่ทางทิศตะวันตกของแคว้น Limousin อยู่ทางทิศใต้ของแคว้น Centre เมืองหลวงของแคว้นชื่อ Poitiers สินค้าประจำแคว้นได้แก่ ข้าวสาลี,ข้าวโพด,การเลี้ยงสัตว์,องุ่น,เหล้า 

18. Aquitaine  เป็นแคว้นที่ตั้งอยู่มีชายฝั่งออกติดกับแนวมหาสมุทรแอตแลนติค เมืองหลวงชื่อ Bordeaux สินค้าของแคว้นคือ องุ่น,ยาสูบ,ข้าวสาลี,ข้าวโพด,การเลี้ยงสัตว์ และผลิตเหล้าคุณภาพดีมีลูกพรุนรสชาติดีนิยมกันมาก 

19. Midi-Pyrenees   ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของแคว้น Aquitain และอยู่ทางตอนใต้ของแคว้น Auverne เมืองหลวงชื่อ Toulouse ซึ่งแคว้นนี้มีชื่อเสียงไปทั่วโลกว่าเป็นเมืองที่มีการผลิตเครื่องบิน ผลผลิตที่สำคัญของแคว้นได้แก่ เนย,เนยแข็ง 

20. Lanquedoc-Roussillon  เป็นแคว้นที่มีชายแดนติดต่อกับแคว้น Provence ทางตอนใต้ติดกับทะเลสาป เมืองหลวงชื่อ Montpellier ผลผลิตสำคัญประจำแคว้นคือ องุ่น,เหล้าไวน์ ,พืชผักสวนครัว,เหล้า สถานที่สำคัญได้แก่ Site เป็นเมืองท่าสำคัญ,เมือง Agen เป็นเมืองตากอากาศ 

21. Provence-Cote d'Azur  ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของฝรั่งเศสติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและชายแดนติดกัย อิตาลี เมืองหลวงของแคว้นชื่อ Marseille ผลผลิตที่สำคัญคือการปลูกดอก lavande ,การปลูกไร่องุ่น,การเพาะปลูกพืชผักสวนครัว 

22. Corse   แคว้นนี้ลักษณะเป็นเกาะอยู่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางตอนใต้ของเมืองนีช เมืองหลวงชื่อ Ajaccio ผลผลิตสำคัญได้แก่ ลูกเกาลัด,องุ่น,ผลไม้,ผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร,เนยแข็งจากนมแกะ,เหล้าองุ่นแดง และชมพู ล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งเด่นของแคว้นCorse

วันเสาร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2556

วันสำคัญของฝรั่งเศส

วันสำคัญของฝรั่งเศส

          แม้ว่าฝรั่งเศสจะเป็นรัฐฆราวาส แต่วันสำคัญต่าง ๆ กลับเกี่ยวข้องกับศาสนาเป็นส่วนใหญ่ อาจด้วยเหตุบังเอิญว่าวันต่าง ๆ เหล่านี้ส่วนใหญ่ตรงกับวันอาทิตย์ซึ่งถือว่าเป็นวันศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนา คริสต์วันขึ้นปีใหม่ (Jour de l’an) 1 มกราคม วันนักขัตฤกษ์ ตรงกับวันแรกของปีตามตารางปฎิทินสากล ในประเทศฝรั่งเศส

วันขึ้นปีใหม่  
  
          10 มกราคมนี้เริ่มกำหนดใช้ในปี ค.ศ. 1564 และ วันที่ 31 ธันวาคมถือว่าเป็นการฉลองคืนส่งท้ายปีเก่าเพื่อต้อนรับขึ้นวันปีใหม่ด้วย ในวันขึ้นปีใหม่นี้ ถือเป็นโอกาสที่จะให้ของขวัญ (เงิน)กับเด็ก ๆ                                                       
เอพิพานี (Epiphanie)  

          เทศกาลของชาวคริสเตียน ในโบสถ์ละติน เป็นการฉลองการมาเยี่ยม พระเยซูของ Rois mages โดยธรรมเนียม มีการทานขนมหวาน เค้ก (รูปทรงมงกุฎในทางตอนใต้) หรือ กาแลตดูครัว (ทางเหนือของฝรั่งเศส) จัดขึ้นในวันอาทิตย์แรกของเดือนมกราคม 
                                                   

ชองเดอเลอ (Chandeleur)  

          2 กุมภาพันธุ์ วันทางศาสนาของชาวคริสเตียน แรกเริ่มมาจาก เทศกาลแสงไฟ ในปี ค.ศ. 472 เทศกาลนี้ได้กลายเป็นการเฉลิมฉลองการเป็นตัวแทนของ พระเยซูภายในโบสถ์ตาม ธรรมเนียมมีการทำขนมเครป แล้วโยนขึ้นกลับด้านโดยกำเงินไว้ในมือ อีกข้างเพื่อถือเป็นการนำโชคดีมาสู่ ตัวผู้โยน                                                        
มาร์ดี-กรา (Mardi-gras) 
 
           เทศกาลของชาวคาทอลิก เมื่อวันสิ้นสุด 7 วันหลังเทศกาลงานรื่นเริง (ซึ่งผ่านมื้ออาหารกันมาตลอดสัปดาห์) วันนี้กำหนดขึ้น 47 วันก่อนเทศกาลอีสเตอร์ และเป็นการ เริ่มต้นของกาเรม (เทศกาลถือศีลอด) สัญลักษณ์ของเทศกาลนี้คืองานกานาวาล (ซึ่งมีความหมายถึงการเอาเนิ้อออก หรือการเริ่มต้นการถือศีล) ตามธรรมเนียมต้องการให้ชาวบ้านแต่งตัวหลากหลายในวันนั้น (ในทุกวันนี้กลายเป็นเด็ก ๆ ) ในบางหมู่บ้านมีการเผาตุ๊กตากานาวาลในวันงานด้วย 

                                                   

 Mercredi des Cendres 
 
           เทศกาลของชาวคาทอลิก เป็นสัญลักษณ์ของการเริ่มต้นเทศกาลถือศีลอด เป็นสัญลักษณ์ให้เตือนถึงการตาย อาทิตย์แรกของเทศกาลศีลอด (1er dimanche de Carême) ไม่มีกิจกรรมใด ๆ พิเศษ พฤหัสบดีกลางเทศกาลศีลอด (Jeudi de la Mi-cerême) เป็นสัญลักษณ์ครึ่งนึงของช่วง เทศกาลถือศีลอดที่มี 40 วัน(โดยไม่นับวันอาทิตย์) ตรงกับวันพฤหัสบดีของอาทิตย์ที่ 3 ของตลอดระยะเวลาเทศกาลถือศีล เป็นการพักของช่วงการถือศีล ในปัจจุบันนี้ไม่ค่อยฉลองกันนัก 
                                              

Dimanche des Rameaux

          รำลึกการเดินทางถึงนครเยรูซาเลมของพระเยซู และความรักของ พระเยซุคริสต์และการเสียชีวิตบนไม้กางเขน 

                                    วันอาทิตย์อีสเตอร์ (Dimanche de Pâques) 

           3 วันหลังจากวันสิ้นชีพของพระเยซุ พระเยซูได้ ฟิ้นคืนชีพ เทศกาลอีสเตอร์เป็นวันสำคัญที่สุดของปฎิทินชาวคริสต์ เป็นสัญลักษณ์ของวันสิ้นสุดของเทศกาลถือศีลอด วันอีสเตอร์สอดคล้องกับวันอาทิตย์แรกต่อจากวันพระจันทร์เต็มดวงในฤดูใบไม้ ผลิ ชาวคริสต์ต้องหยุดงานเพื่อไปสวดมิซซา ในวันนี้พระสันตปะปาจะประทานพรในฝรั่งเศสตามธรรมเนียมทำการมอบไข่ (ช็อกโกแลต) หรือของประดับธรรมเนียมอิ่น ๆเกี่ยวกับอาหาร : ทานแกะ 

                                          
วันจันทร์อีสเตอร์ (Lundi de Pâque)

          ในยุคกลางตลอดสัปดาห์หลังเทศการอีสเตอร์เป็นสัปดาห์นักขัตฤกษ์ ในปัจจุบันเหลือลงเพียงวันจันทร์ และไม่ใช่งานฉลองที่เคยทำอย่างสม่ำเสมอ ในกรณีของฝรั่งเศสไม่มีการฉลองเป็นพิเศษ 
                                              

วันนำสาร (Annonciation) 
 
           25 มีนาคม ตามศาสนาคริสต์ เทวดากาเบรียล นำสารมาบอกมารีถึงการตั้งครรภ์พระเยซู 9 เดือนก่อนวันคริสต์มาสถือได้ว่าเป็นวันจุติของพระเยซู 

                                    
วันรำลึกการถูกคุมตัว(Souvenir déportés)
 
           เป็นวันระลึกถึง 150000 ฝรั่งเศสที่ถูกนำตัวไปเข้าค่ายกักกันของนาซี ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 วันรำลึกนี้จัดอยู่ในอาทิตย์สุดท้ายของเดือนเมษายนวันรำลึกนี้จัดอยู่ใน อาทิตย์สุดท้ายของเดือนเมษายน 
                                         

 วันแรงงาน ( Fête du travail) 

           1 พฤาภาคม เป็นธรรมเนียมของผู้ใช้แรงงานในการต่อสู้ที่มีอยู่ทั่วโลก ในประเทศส่วนใหญ่จัดเป็นวันหยุดประจำปี ประเทศฝรั่งเศสเริ่มต้นในปี 1919 และในปี 1947 เป็นวันหยุดเต็มวันโดยได้รับค่าแรงด้วย ในวันนี้สหภาพแรงงานต่าง ๆ จะเดินขบวนกันตามเมืองต่าง ๆ ของประเทศ และมีการมอบช่อดอกมูเก้ด้วย 
                                 

  วันกลับคืนสู่สวรรค์ (Jeudi de l’Ascension) 
  
          เป็นการฉลอง 39 วันหลังจากเทศกาลอีสเตอร์ หลังจากลงมาเผยแพร่คำสอน พระเยซุก็ได้เสด็จกลับขึ้นสวรรค์์ 
                                          

วันฉลองชัยชนะ (Victoire 1945) 
 
           ชัยชนะทีมีต่อเยอรมันในยุคการครอบครองโดยทหารนาซี สันติภาพได้กลับคืนสู่ ทวีปยุโรป โดยสัญญาสงบศึกที่ทำขึ้นในวันที 8 พฤษภาคม 1945 เวลาประมาณเที่ยงคืน โดยมีนายพลโซเวียต Jpukov ฝ่ายนาซี Keitel ผู้แทนจากสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และนายพล de Lattre ของฝรั่งเศส เป็นวันนักขัตฤกษ์ตั้งแต่ปี 1953 แต่ได้ถูกยกเลิกไปในสมัย V.Giscard d’Estaing และได้กลับมากำหนดใหม่ในยุคของ F.Mitterrand 1 มิถุนายน 1981 
                              

วันอาทิตย์ปงโตโค๊ต (Dimanche de Pentecôte)

          เป็นวันเทศกาลของชาวคริสต์ กำหนดขึ้น7 อาทิตย์หลังเทศกาลอีสเตอร์ เพื่อรำลึกถึงวิญญาณศักด์สิทธิ์ที่ลงมาจาก... 
                                                 

   ทรินิเต้ (Trinité) 
 
          วันเทศกาลของชาวคริสต์ อาทิตย์ที่ 8 หลังจากเทศกาลอีสเตอร์ ปัจจุบันไม่ค่อยมีการเฉลิมฉลองมากนัก ในศาสนาคริสต์ ทรินิเต้เป็นการกล่าวถึงพระเจ้าใน 3 บุคคล พระบิดา บุตร และพระจิต 

                                                

วันพระเจ้า (Fête Dieu)
 
          ฉลองในวันพฤหัสบดีถัดจากวันทรินิเต้ (หรืออาจวันอาทิตย์ขึ้นอยู่กับทางปฎิบัติ) ฉลองถึงความเสียสละของพระคริสต์ โดยมีการแบ่งขนมปัง 

                                               

วันแม่ (Fête des mères) 

          กำหนดเป็นทางการในปี 1928 กำหนดไว้ในวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนพฤษภาคม (หรือกรณีพิเศษเลื่อ่นไปในเดือนมิถุนายนหากชนกับปงโดโค๊ต) ในปัจจุบัน กลายเป็นการค้าและเป็นวันที่ชื่นชอบของเด็ก ๆ 
                                               

วันพ่อ (Fête des pères)
 
          เช่นเดียวกับวันแม่ แต่มีกำหนดขึ้นเป็นทางการในปี 1952 

                                              

วันชาติ (Fête Nationale)
 
          รำลึกถึงวันแห่งการปฎิวัติของฝรั่งเศส 1789 โดยเฉพาะการทำลายคุกบาสตีล ในวันที่ 14 กรกฎาคม 1978 คุกบาสตีลเป็นคุกสำคัญของปารีส และเป็นสัญลักษณ์ของอำนาจกษัตริย์ ในวันที่ 14 กรกฎาคม 1789 ชาวกรุงปารีสได้ทำการเผาและเข้ายึดคุก การเข้ายึดคุกบาสตีลนี้กลายเป็น สัญลักษณ์ของการก่อตั้งสาธารณรัฐฝรั่งเศส 

                                            

                                             วันอัสสัมซิยง (Assomption) 
          
           15 สิงหาคม วันทางศาสนาของชาวคาทอลิกที่ทำการฉลองในการที่พระแม่มารีขึ้นสู่สรวงสวรรค์ เป็นวันสำคัญกลางฤดูร้อนมีการ........ 
                                                 

 Croix glorieuse
 
           14 กันยายน กำหนดโดยจักรพรรคดิ์กองสตองแตง ในปี ค.ศ. 335 ในปัจจุบันมีการฉลองในวันนี้ไม่มากนัก 

                                              

  ตุสแซง (Toussaint) 
 
           1 พฤศจิกายน วันทางศาสนาของชาวคาทอลิก ในการเฉลิมฉลองให้กับทุกนักบุญโดยโบสถ์โรมัน ในวันนี้ได้กลายเป็นวันเยี่ยมหลุมฝังศพ เพือ่วางดอกไม้กับผู้เสียชีวิตไปแล้ว และดอกคริสซองแตม 

                                                   เดฟัน (Défunts)
 
           2 พฤศจิกายน ในฝรั่งเศสรวมกันกับวันหยุดตุสแซง วันสิ้นสุดสงคราวโลกครั้งที่ 1 (Armistice 1918) 11 พฤศจิกายน 1918 รำลึกถึงการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยมีการเซ็นสัญญายุติสงครามมที่ Rethondes ป่า Compiège (Oise) 

                                                     

 Christ Roi 
 
           วันทางศาสนาของชาวคาทอลิกอาทิตย์สุดท้ายของปี 5 อาทิตย์ก่อนคริสต์มาส Avent ช่วงเวลาหลังจากคริสต์มาส ระหว่าง 3-4 สัปดาห์ 

                                                  

 คริสต์มาส (Noël) 
 
           เป็นเทศกาลการเกิดของพระเยซูคริสต์ มีการกำหนดขึ้นในปี ค.ศ. 354 โดยสันตปะปา Libère มีการประดับตกแต่งในวันที่ 24 ธันวาคมตอนเย็น ด้วยต้นสน คอกเด็ก ของขวัญ และทานอาหรระหว่างครอบครัว เทศกาลนี้ยังกลายเป็นสัญสักษณ์การทำค้าขาย อย่างมหาศาล 

                                            

วันครอบครัว (Saint famille)
 
           ต่อจากคริสต์มาส (อาทิตย์หรือศุกร์ถัดไปหากวันคริสต์มาส ตรงกับวันอาทิตย์)เป็นการสร้างครอบครัวโดยเยซูและมีบุพการีคือ มารีและโยเซพ